เล่มนี้เพื่อนแนะนำให้ไว้นานแล้ว แต่ยังไม่ได้อ่านซะที จนกระทั่งเมื่อคืนอยากหาหนังสือดีๆมาอ่านเลยหยิบเล่มนี้มา อ่านแล้วทึ่งจริงๆ ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ที่มีมาหลายพันปี ถ้าถามว่าทำไมสังคมถึงได้พัฒนามาแบบนี้ ทำไมถึงเป็นคนยุโรปที่ได้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์และความก้าวหน้าต่างๆจนกระทั่งถือเป็นผู้นำของโลกในปัจจุบัน? เป็นเพราะคนยุโรปฉลาดกว่าเหรอ? หนังสือเล่มนี้อธิบายว่าไม่ใช่เป็นเพราะความฉลาด หรือความแตกต่างทางเชื้อชาติ
Bialystok แบ่งความรู้ทางภาษาในการเรียนภาษาที่สอง ออกเป็นสองแบบด้วยกัน 1. Explicit linguistic knowledge ความรู้ในกลุ่มนี้เป็นความรู้ที่ผู้เรียนสามารถอธิบายให้คนอื่นฟังได้ 2. Implicit
มีบ้างไหมที่บางวันเราอุตสาห์แต่งตัวดี แต่งหน้า ทำผม เลือกชุดดีๆ เรารู้สึกดีกับตัวเอง แต่พอมีคนหนึ่งมาบอกว่า เราดูไม่ดี จากที่ยิ้ม กลายเป็น เศร้า
วันนี้ได้มีโอกาสทำcase studyของประเทศจีน พวกเราได้ข้อมูลมาเป็นรูปถ่ายที่ถ่ายมาจากชนบทของประเทศจีน เสียดายที่ไม่สามารถนำมาลงให้ทุกคนดูได้ แต่จะพยายามเล่าให้ฟังแล้วกันนะคะ ข้อมูลที่ได้มา คือ ภาพของชนบทเมืองจีน แท่นที่นอนทำจากอิฐ ซึ่งมีที่ว่างข้างล่างเพื่อเอาไว้จุดไฟข้างใต้เพื่อให้ความอบอุ่นในหน้าหนาว
วันนี้ได้ฟังเรื่องน่าคิดมาจากอาจารย์อินเดีย ท่านบอกว่า คนเรามีสามลักษณะในตัวด้วยกัน Create แบบนี้ คือ ชอบสร้าง เช่น เราคงเคยเห็นเด็กๆที่พอเอาอะไรไปให้ก็จะสร้างสิ่งใหม่ๆขึ้น เอากระดาษกับปากกาไปวางไว้ตรงหน้า
หลายๆคนอาจจะเคยได้ยินมาว่า ผู้ชายมักจะชอบเรียนวิทยาศาสตร์มากกว่าผู้หญิง ซึ่งในวงการการศึกษาก็พบว่าเป็นอย่างนั้นอยู่เหมือนกัน แต่เร็วๆนี้เพิ่งมีงานวิจัยอันใหม่ออกมา ค้นพบว่า จริงๆแล้วความอยากเรียนวิทยาศาสตร์ไม่ได้ขึ้นกับเพศ แต่ขึ้นอยู่กับลักษณะของสมองต่างหาก งานวิจัยชิ้นนี้เป็นของ Institute of
ปกติเวลาที่เราเรียนภาษาใหม่ เรามักจะพยายามเลียนแบบการเรียนตามธรรมชาติของเด็ก มีนักการศึกษาหลายคนที่คิดว่า ในเมื่อเวลาเด็กเล็กๆเริ่มเรียนภาษา ก็ไม่เห็นจะต้องใช้คำอธิบายแกรมมาสักเท่าไหร่ ก็สามารถพูดได้ถูกต้อง ฉะนั้นถ้าเราเรียนภาษาต่างประเทศก็น่าจะไม่จำเป็นต้องอธิบายแกรมมาให้มากนักก็ได้ เน้นการทำซ้ำๆและการเลียนแบบก็พอ ซึ่งดูๆก็น่าจะสมเหตุสมผล แต่ลองมาคิดดูดีๆซิว่า