Blog
Academic Writing

Verb Tense Consistency – เลือกใช้ tense ให้ตรงความหมาย
โดย: ครูม่อน ดร. ณัฎฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล เผยแพร่ครั้งแรก: เดือนพฤศจิกายน 2563 เรื่อง tense ที่ต้องคอยระวังใน writing คือ ต้องใช้ tense ที่สื่อความหมายถูกต้อง และให้ต่อเนื่องในแต่ละ paragraph หลายๆครั้งเวลาเรียนที่โรงเรียนเพื่อเตรียมสอบ เรามักจะได้เรียนว่าควรจะใช้ tense เหมือนกันทั้ง paragraph แต่เมื่อเราเขียนระดับสูงขึ้นมา จะเห็นว่าเราต้องเลือก

Reported Speech – การแก้ไข reported speech
โดย: ครูม่อน ดร. ณัฎฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล เผยแพร่ครั้งแรก: เดือนพฤศจิกายน 2563 สิ่งที่ต้องระวังอีกอย่างเวลาเขียน คือ reported speech ซึ่งคือการนำคำพูดมาใส่ในประโยค เรื่องนี้มักจะผิดกันตรงที่ไม่ได้เลือกให้ชัดเจนว่าจะทำเป็น quotation คือ ยกมาคำต่อคำเลย หรือว่าจะทำให้เป็น clause ย่อยในประโยค มาดูตัวอย่างกันนะคะ He asked did we

Pronoun Shifts – ฝึก edit ให้ถูกด้วยการแก้ pronoun
โดย: ครูม่อน ดร. ณัฎฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล เผยแพร่ครั้งแรก: เดือนพฤศจิกายน 2563 เรื่องหนึ่งในการเขียนที่มักจะผิดกันมาก คือ pronoun shifts ซึ่งคือ การเปลี่ยน pronoun โดยไม่จำเป็น ทำให้คนอ่านจะงง เพราะความหมายไม่ต่อเนื่อง เพราะฉะนั้น เวลาใช้ pronoun เราต้องให้แน่ใจว่า pronoun นั้นหมายความถึงคนหรือสิ่งของอย่างเดียวกันตลอดทั้งประโยคหรือparagraph

การใช้ Subjunctive
โดย: ครูม่อน ดร. ณัฎฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล เผยแพร่ครั้งแรก: 5 สิงหาคม 2563 Subjunctive เป็น mood อย่างหนึ่งในภาษาอังกฤษ Mood บ่งบอกถึง attitude ที่มีต่อ action มี 3 อย่างด้วยกันคือ Indicative บอกที่สิ่งที่เป็นจริง สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้น คถามเกี่ยวกับ

การเชื่อมประโยคด้วย Appositives
โดย: ครูม่อน ดร. ณัฎฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล เผยแพร่ครั้งแรก: 10 กรกฎาคม 2563 อาทิตย์ก่อนๆเราได้คุยกันถึงการเชื่อมประโยคด้วย Past Participle และ Present Participle แล้วนะคะ วันนี้ขอนำเสนอการเชื่อมอีกแบบค่ะ Appositives คือคำนาม (noun) หรือนามวลี (noun phrase) ที่เอามาขยายคำนามคำอื่น

การเชื่อมประโยคด้วย Past Participle
โดย: ครูม่อน ดร. ณัฎฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล เผยแพร่ครั้งแรก: 3 กรกฎาคม 2563 สวัสดีค่ะ วันนี้ครูม่อนจะมาพูดถึงการเชื่อมประโยคโดยใช้ Past Participle กันนะคะ การเชื่อมแบบนี้จะแปลงกริยาเป็นช่อง 3 เพื่อแสดงว่าประธานถูกกระทำ จะต่างจากการเชื่อมแบบ Present Participle ที่แปลงกริยาให้อยู่ในรูป -ing เพราะประธานทำกริยานั้นเอง ลองมาดูตัวอย่างเพื่อทำความเข้าใจกันเลยค่ะ Henry
Featured Stories
เรียนภาษาอังกฤษ

สรุปเนื้อหาจาก Workshop 20 ธ.ค. 2563 “Say What You Really Mean – วิธีเลือกคำให้ถูกต้องตรงใจแบบไม่ต้องท่อง”
สวัสดีค่ะ วันนี้ครูม่อนอยากมาแนะนำเทคนิคดีๆ 3 ข้อ เพื่อช่วยให้นักเรียนเลือกคำมาใช้ในบทความหรืองานเขียนเชิงวิชาการได้ดีขึ้น ครูเชื่อว่าเทคนิคเหล่านี้น่าจะช่วยนักเรียนได้ทุกระดับตั้งแต่ผู้เริ่มต้น จนถึงคนที่เขียนเก่งอยู่แล้ว เพราะแม้ว่าคำที่เลือกมาใช้อาจจะไม่ผิดหลักวิชาการหรือแกรมม่า แต่บางครั้งอาจดูแปลกๆในสายตาของนักเขียนที่เป็น native speaker นั่นเป็นเพราะคำเหล่านั้นมักไม่ค่อยปรากฎในโครงสร้างประโยคนั้นๆ วิธีแก้นั้นก้ง่ายมากค่ะ

Verb Tense Consistency – เลือกใช้ tense ให้ตรงความหมาย
โดย: ครูม่อน ดร. ณัฎฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล เผยแพร่ครั้งแรก: เดือนพฤศจิกายน 2563 เรื่อง tense ที่ต้องคอยระวังใน writing คือ ต้องใช้ tense ที่สื่อความหมายถูกต้อง และให้ต่อเนื่องในแต่ละ paragraph หลายๆครั้งเวลาเรียนที่โรงเรียนเพื่อเตรียมสอบ เรามักจะได้เรียนว่าควรจะใช้ tense เหมือนกันทั้ง paragraph แต่เมื่อเราเขียนระดับสูงขึ้นมา จะเห็นว่าเราต้องเลือก

Reported Speech – การแก้ไข reported speech
โดย: ครูม่อน ดร. ณัฎฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล เผยแพร่ครั้งแรก: เดือนพฤศจิกายน 2563 สิ่งที่ต้องระวังอีกอย่างเวลาเขียน คือ reported speech ซึ่งคือการนำคำพูดมาใส่ในประโยค เรื่องนี้มักจะผิดกันตรงที่ไม่ได้เลือกให้ชัดเจนว่าจะทำเป็น quotation คือ ยกมาคำต่อคำเลย หรือว่าจะทำให้เป็น clause ย่อยในประโยค มาดูตัวอย่างกันนะคะ He asked did we

Pronoun Shifts – ฝึก edit ให้ถูกด้วยการแก้ pronoun
โดย: ครูม่อน ดร. ณัฎฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล เผยแพร่ครั้งแรก: เดือนพฤศจิกายน 2563 เรื่องหนึ่งในการเขียนที่มักจะผิดกันมาก คือ pronoun shifts ซึ่งคือ การเปลี่ยน pronoun โดยไม่จำเป็น ทำให้คนอ่านจะงง เพราะความหมายไม่ต่อเนื่อง เพราะฉะนั้น เวลาใช้ pronoun เราต้องให้แน่ใจว่า pronoun นั้นหมายความถึงคนหรือสิ่งของอย่างเดียวกันตลอดทั้งประโยคหรือparagraph
เทคนิคการเรียน

สรุปเนื้อหาจาก Workshop 20 ธ.ค. 2563 “Say What You Really Mean – วิธีเลือกคำให้ถูกต้องตรงใจแบบไม่ต้องท่อง”
สวัสดีค่ะ วันนี้ครูม่อนอยากมาแนะนำเทคนิคดีๆ 3 ข้อ เพื่อช่วยให้นักเรียนเลือกคำมาใช้ในบทความหรืองานเขียนเชิงวิชาการได้ดีขึ้น ครูเชื่อว่าเทคนิคเหล่านี้น่าจะช่วยนักเรียนได้ทุกระดับตั้งแต่ผู้เริ่มต้น จนถึงคนที่เขียนเก่งอยู่แล้ว เพราะแม้ว่าคำที่เลือกมาใช้อาจจะไม่ผิดหลักวิชาการหรือแกรมม่า แต่บางครั้งอาจดูแปลกๆในสายตาของนักเขียนที่เป็น native speaker นั่นเป็นเพราะคำเหล่านั้นมักไม่ค่อยปรากฎในโครงสร้างประโยคนั้นๆ วิธีแก้นั้นก้ง่ายมากค่ะ


เก่งศัพท์จากการอ่านหรือการท่อง?
“อ่านเยอะๆก็เก่งคำศัพท์เอง” “Vocab ไม่ท่องไม่ได้” หลายๆคนคงจะเคยได้ยินคำแนะนำในการเรียนคำศัพท์แบบนี้ แล้วอาจจะสับสนว่าวิธีไหนดีกว่ากัน วันนี้ครูจะขออธิบายให้หายสงสัย เพื่อจะได้ไปปรับวิธีการเรียนคำศัพท์ให้ดียิ่งขึ้น การเรียนคำศัพท์มีสองแบบ คือ Incidental learning คือ การเรียนคำจากการใช้จริง คือ ได้คำศัพท์จากการที่ใช้ฟัง พูด อ่าน เขียน ในชีวิตจริง Intentional learning หรือ explicit learning คือ

4 ขั้นตอนการฝึก Vocab
“เคยท่องศัพท์แล้วก็ลืม เสียเวลาแล้วไม่ได้อะไร เลิกท่องดีกว่า” อันนี้ได้ยินหลายคนบ่นมาก เมื่อคิดแบบนี้ก็ทำให้หมดกำลังใจ ครูเองก็เคยรู้สึกแบบนี้ เป็นมากตอนที่ท่องศัพท์สอบ GRE ท้ายๆเริ่มหมดกำลังใจ เลิกท่องไปเลย กะว่าก็ใช้ที่เราเคยอ่านๆมาแล้วไปเดาเอา พอได้ไปเรียนปริญญาโทและเอกด้านการเรียนภาษา ถึงได้รู้ว่าการเรียนคำศัพท์นั้นไม่ใช่ all-or-nothing คือ ไม่ใช่มีแค่ “จำได้” กับ “ลืม” การเรียนคำศัพท์มีสี่ระดับด้วยกัน ตามที่นักวิจัยการศึกษา Edgar Dale
Be Your Best Self

บางทีก็ต้องยอมรู้สึกโง่บ้าง ถึงจะฉลาดขึ้นนะ
เทอมนี้คิดอยู่นานมากว่าจะลงเรียนวิชาอะไรดี สุดท้ายได้ไปลงวิชาที่ทั้งปีทั้งชาติไม่เคยคิดว่าตัวเองจะไปเรียน (ส่วนเรื่องที่ว่าทำไมถึึงได้ไปลงเนี่ย อย่าไปพูดถึงมันเลยนะ) ลงไปแล้วที่มหาวิทยาลัยก็ให้เวลาสองอาทิตย์ในการตัดสินใจ ถ้าจะดร็อปก็ดร็อปได้โดยไม่ติด W วิชานี้เป็นวิชาที่เราสนใจนะ แต่เราไม่มีพื้นฐานอะไรสักนิดเลย บางเรื่องคุยกันในห้องแล้วเราก็แทบจะไม่รู้เลยว่าพูดถึงเรื่องอะไรกันอยู่ แต่เราอยากรู้อ่ะ อยากรู้ก็ต้องเสี่ยงกันหน่อยใช่ไหม คะแนนจะดีไม่ดีก็ไม่รู้เหมือนกัน จะผ่านหรือเปล่ายังไม่รู้เลย แต่ก็ขอลองสักหน่อยแล้วกันนะ พอผ่านช่วงที่เขาให้ดร็อปไปได้แล้วก็มีมาแอบคิดอยู่ในใจเหมือนกันว่า สงสัยเราจะคิดผิดอ่ะ แต่เรียนๆไปก็รู้ว่าสนุกมากๆเลย ถึงแม้เราจะไม่รู้เรื่องซะส่วนมาก แต่ก็เพราะว่าเราไม่รู้นั่นแหละ เลยทำให้เรียนสนุก เพราะเราได้รู้อะไรใหม่ๆเยอะแยะเลย พอกลับมานั่งคิดกับตัวเอง ในฐานะที่เป็นคนแนะนำให้ใครๆไปเรียนสิ่งที่ตัวเองชอบ แต่บางทีเราเองก็กลับลืมไปเหมือนกันนะ

นิยามของความสำเร็จ: จากหนึ่งถึงร้อยต้องทำได้เท่าไหร่
ความสำเร็จไม่ได้อยู่ที่ว่า จากหนึ่งถึงร้อย เราทำได้เท่าไหร่ คนที่เดิมเขาทำได้เก้าสิบห้าอยู่แล้ว พอทำได้ร้อย ก็มีคนยกย่องเต็มไปหมด แต่ในใจ ได้รู้สึกไหมว่าเป็นความสำเร็จ ถ้าเราเริ่มจากศูนย์ ไม่เคยมีใครคิดว่าจะมีปัญญาทำได้มากกว่าครึ่ง แล้ววันนี้เราทำได้ หกสิบ เราจะภูมิใจกับความสำเร็จของตัวเอง หรือน้อยเนื้อต่ำใจว่า เราทำไม่ได้ร้อยเหมือนคนอื่นเขา ก็อยู่ที่ใจเราเอง

ประสบการณ์ คือ ไฟส่องให้เราเข้าใจชีวิตที่ผ่านมา
การจะรู้ว่าเราจะเรียนอะไร ชอบอะไร อยากทำอะไร คงไม่ใช่ว่าอยู่ๆก็จะตัดสินใจขึ้นมาได้ หรือว่าจะให้คนอื่นมาชี้นิ้วบอก ไม่ว่าพ่อแม่ ครูอาจารย์ ก็ไม่มีใครรู้จักตัวเราดีกว่าเราเอง แต่ว่าเราเองก็มักจะบอกตัวเองว่า เราไม่รู้จักตัวเองดีพอ อยากให้คนอื่นมาบอกเราว่าทำอย่างไรถึงจะดีที่สุด ที่จริงแล้ว ไม่ใช่ว่าเราไม่รู้หรอก แต่เป็นเพราะว่า เราไม่อยากตัดสินใจ เรากลัวผิด เราจึงโยนให้คนอื่นตัดสินใจ เพราะถ้าผิดแล้ว เราก็จะได้โทษเขาได้ หรือไม่ก็เราจะได้ไม่ต้องมารับผิดชอบทีหลังเวลาชีวิตเรามันไม่รุ่งอย่างที่ควรจะเป็น การที่จะเลือกทำสิ่งที่เราอยากทำจริงๆเป็นสิ่งที่น่ากลัวไม่ใช่น้อย เพราะเราไม่รู้ว่ามันจะเป็นอย่างที่หวังไหม ถ้าเกิดเราเลือกแล้วมันไม่เป็นอย่างที่หวังล่ะ เราต้องรับผิดเต็มๆเลยนะ? ไปโทษใครไม่ได้…..

ตอบปัญหา ทุกข์ใจที่พลาดสาขาที่อยากเรียน
“พี่ม่อนคะตอนนี้หนูทุกข์ใจมากๆเลยค่ะ หนูซิ่วแล้วแอดมิสชั่นใหม่และผลแอดมิสชั่นก็ประกาศออกมาแล้วในวันที่ 04-05-54 ที่ผ่านมา หนูไม่ติดสาขาที่หนูต้องการเรียนอีกแล้วค่ะ แต่มาติดอีกสาขาหนึ่งที่ลงไว้สำรองในอันดับที่ 4 ซึ่งตอนแรกก็ไม่ได้คิดอะไรมาก เพราะมีเพื่อนที่เรียนในสาขาอยู่แล้ว และเห็นว่าเพื่อนเขาเรียนง่ายๆ สบายๆ (ทั้งๆที่เป็นสาขาที่เขาไม่ได้ชอบเหมือนกัน) เราก็คงเรียนได้อยู่แล้วแหละ พอได้เจอหนังสือ “ฟังเสียงหัวใจ เรียนอะไรที่ใช่เรา” ได้อ่านได้ลองทำแบบทดสอบแล้วก็พบว่าสาขานี้มันไม่ใช่ตัวหนูเลยสักนิด นั่งมองไปถึงอนาคตก็นึกไม่ออกว่าเราจะประกอบอาชีพที่เกี่ยวกับสาขานี่ได้อย่างไร มันอึดอัดมากๆเลยค่ะ ตั้งแต่ประกาศผลออกมานั่งคิดตลอดเลย จะซิ่วอีกรอบดีไหมนะ แต่ก็คิดว่าเราจะมัวแต่ซิ่วไปตอลดไม่ได้หรอก ถ้าปีหน้าไม่ได้อีกล่ะ ไม่ได้ทำมาหากินอย่างอื่นพอดี หนูควรทำอย่างไรดีคะพี่ม่อน”
ศึกษาต่อต่างประเทศ

อย่าเพิ่งส่ง Statement Of Purpose ถ้ายังไม่ได้แก้ 4 อย่างนี้
ก่อนจะได้เรียนต่อในที่ที่เราฝัน ก็ต้องสมัครให้ติดก่อน Statement of Purpose หรือ Personal Statement เป็นสิ่งหนึ่งที่หลายๆคนกลัวกันมาก ซึ่งก็ไม่แปลกเลยเพราะการเขียน essay ภาษาอังกฤษยาวๆ แถมเขียนเรื่องตัวเองอีก ย่อมเป็นอะไรที่น่ากังวลเป็นธรรมดา จากประสบการณ์ที่สมัครเรียนต่อปริญญาโทและเอกของตัวเอง และที่โค้ชนักเรียนมาเยอะ ครูพบว่ามีข้อผิดพลาดที่ผิดกันเยอะอยู่ 4 อย่าง คือ 1. ตอบไม่ตรงคำถาม อันนี้เจอบ่อยมากอย่างไม่น่าเชื่อ เป็นอะไรที่มองข้ามได้ง่าย

[แจกฟรี] Academic Writing Hacks: A Guide to Tackle Academic Writing
มินิคอร์สนี้จะแนะนำภาพรวมการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ และวิธีการหลักๆที่จะช่วยลดความกลัวและพัฒนาทักษะการเขียน สำหรับคนที่ตั้งใจจะเรียนต่อดีกรีที่เป็นภาษาอังกฤษซึ่งก็คงรู้อยู่แล้วว่าจะมีงานเขียนเยอะมาก ถ้าจะเรียนให้จบให้ได้เกรดดีๆ ต้องเขียนให้ดี แต่ว่าเรียนแค่ภาษาอย่างเดียวมันไม่พอ แค่สอบโทเฟล IELTS ผ่านมันไม่พอ ต้องรู้ให้มากกว่านั้น มินิคอร์สนี้จะให้ความรู้จากวงในจากคนที่ผ่านมาแล้ว เป็นความรู้ที่สำคัญแต่ไม่ค่อยมีใครสอน พอไปเรียนถึงได้รู้ว่ามันสำคัญมาก ผู้เรียนคอร์สนี้จะได้ความรู้ที่สำคัญเกี่ยวกับการเรียนต่อต่างประเทศ เรื่องภาษาอะไรที่เราต้องเตรียมตัว จะเรียนแข่งกับเจ้าของภาษาได้ยังไง และเคล็ดลับอื่นๆที่จะช่วยให้เรียนจบได้โดยไม่ต้องไปลองผิดลองถูกเองจ้ะ พร้อมเรียนแล้ว!

เทคนิคง่ายๆที่ช่วยให้เราอ่านเร็วขึ้น
เทคนิคง่ายๆที่ช่วยให้เราประหยัดเวลาอ่าน reading ใครที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่ ไม่ว่าจะในไทยหรือต่างประเทศ ปริญญาตรีหรือเอก ก็จะรู้ว่าจะมีอะไรที่ต้องอ่านเยอะมาก ทั้งtextbooks ทั้งบทความ journal บางวิชาก็จะให้listมาเลยว่าแต่ละอาทิตย์ต้องอ่านอะไรบ้าง ครั้งแรกที่ครูม่อนไปเรียนที่อเมริกา ตอนนั้นเรียนปริญญาโทที่ฮาร์วาร์ด ช็อกมากว่าทำไมแต่ละอาทิตย์ต้องอ่านเยอะขนาดนั้น วิชาละ 100 กว่าหน้าอย่างต่ำ แล้วเราเรียน 4 วิชา! ตอนที่เรียนหมอ จุฬา ก็ต้องอ่านเยอะนะ แต่รู้สึกว่าไม่เหมือนกัน เพราะตอนเรียนหมอนั้นมันต้องจำหมดอยู่แล้วแถมยังอ่านภาษาไทย แต่ตอนเรียนปริญญาโทนี่

ภาษาเป็นประตูสู่โลกกว้าง ตอน Norway
Author: ดร.ณัฏฐ์ภัทร์ ชาญเชาวน์กุล (ครูม่อน) Cover art: อธิกฤต ชาญเชาวน์กุล (โดม) Date: 6 ตุลาคม 2562 ภาษาเป็นประตูสู่โลกกว้าง ครูม่อนรู้สึกกับภาษานะคะว่ามันไม่ใช่แค่แบบสิ่งที่เราแบบต้องสอบให้ผ่านอะไรอย่างนี้ คือมันไม่ใช่แค่นั้นนะคะ จริงๆตอนเด็กๆเป็นคนที่เกลียดภาษาอังกฤษมากเลย เคยสอบตกด้วยถึงแม้ว่าช่วงมัธยมปลายจะพอดีขึ้นบ้าง แต่ครูก็ยังคิดว่าภาษาอังกฤษเป็นแค่วิชาที่ต้องสอบให้ผ่านและทำคะแนนให้ได้เยอะๆ สิ่งที่ทำให้เปลี่ยนใจคือ ตอนครูเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนที่นอร์เวย์ (เด็ก
