เทคนิคง่ายๆที่ช่วยให้เราอ่านเร็วขึ้น
เทคนิคง่ายๆที่ช่วยให้เราประหยัดเวลาอ่าน reading ใครที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่ ไม่ว่าจะในไทยหรือต่างประเทศ ปริญญาตรีหรือเอก ก็จะรู้ว่าจะมีอะไรที่ต้องอ่านเยอะมาก ทั้งtextbooks ทั้งบทความ journal
เทคนิคง่ายๆที่ช่วยให้เราประหยัดเวลาอ่าน reading ใครที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่ ไม่ว่าจะในไทยหรือต่างประเทศ ปริญญาตรีหรือเอก ก็จะรู้ว่าจะมีอะไรที่ต้องอ่านเยอะมาก ทั้งtextbooks ทั้งบทความ journal
จากวันก่อนที่โพสต์เรื่อง 4 วิธีง่ายๆสร้างนิสัยเรียนภาษาอังกฤษ (คลิกเพื่ออ่าน) วันนี้จะมาคุยกันต่อนะคะ และจะแจกhabit trackerด้วย วิธีนึงในการรักษาแรงจูงใจในการเรียนภาษา คือ ฉลองชัยชนะเล็กๆ
ทุกๆคนคงเคยได้ยินว่า “เรียนภาษาต้องเรียนตั้งแต่เด็ก” “เรียนภาษาตอนเด็กง่ายกว่าตอนโต” ถ้าเราโตแล้วเพิ่งมาเรียน ฟังดูแล้วท้อมากเลยนะคะ แต่ถ้าดูจากงานวิจัย มีแค่เรื่องเดียวเท่านั้นที่ต้องเรียนตอนเด็ก คือ pronunciation ถ้าเรียนpronunciationตอนโต
เวลาที่เด็กๆเรียนภาษาเนี่ยซับซ้อนกว่าที่เราคิดกันเยอะนะคะ ปกติเรามักจะเข้าใจกันว่าเด็กเล็กๆเรียนภาษาจากการที่ได้ฟังซ้ำๆจนรู้เรื่อง แต่ไม่ใช่ว่าเด็กๆจะแค่จำสิ่งที่ได้ยินเท่านั้น แต่ยังมีการสังเกตและจับรูปแบบของภาษา เช่น อย่างภาษาไทย เราพูดว่า “แมวสีขาว” “หมาตัวใหญ่” พอได้ยินหลายๆครั้งในหลายๆประโยค
วันนี้อ่านบทความวิชาการได้เรื่องน่าสนใจมาอันหนึ่ง คือ นักวิจัยพบว่ายังไม่มีหลักฐานอะไรที่มายืนยันว่าเด็กเรียนคำศัพท์ได้เร็วกว่าผู้่ใหญ่ ผู้เขียนกล่าวว่า ถ้าให้ผู้ใหญ่ไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นภาษาใหม่ ได้ฟังได้พูดภาษานั้นตลอดเวลา เหมือนตอนที่เด็กๆเรียนภาษาแม่ ผู้ใหญ่ก็สามารถเรียนศัพท์ได้เร็วไม่แพ้เด็กๆเหมือนกัน แต่ที่เรามักจะคิดกันว่าผู้ใหญ่เรียนศัพท์ได้น้อย ก็เพราะว่าปกติแล้วพอเริ่มโตขึ้นมาหน่อย
ถึงแม้ว่าความเชี่ยวชาญในด้านนึง จะไม่ได้ทำให้เชี่ยวชาญในอีกด้านนึงเสมอไป แต่เราก็คงเคยเห็นคนที่เรียนหนังสือเก่งๆ แล้วมักจะไม่ได้เก่งวิชาเดียว แต่เก่งเกือบทุกวิชา ทำไมถึงเป็นอย่างนั้นล่ะ? Metacognition เป็นทักษะทั่วไป(ไม่เฉพาะสาขา) ที่เราใช้ในการเรียนหรือการแก้ปัญหา เช่น
ถ้ารู้ด้วย common sense ว่าคนเก่งอีกด้านไม่จำเป็นต้องเก่งอีกด้านเสมอไป แต่เราก็ยังเชื่อว่าการเล่นปัญหาปริศนาจะทำให้เราฉลาดได้ ครูม่อนเองก็เคยคิดอย่างนั้นเหมือนกันคะ ก็เล่นไปลับสมอง ก็น่าจะเก่งขึ้น การเล่นเกมส์ปริศนาบ่อยๆ จะทำให้เราเล่นเกมส์นั้น
ก่อนที่จะเฉลยปัญหาครั้งที่แล้ว ครูม่อนจะขอทวนความจำที่ได้เขียนแนะนำเรื่องผู้เชี่ยวชาญ(expert)และมือใหม่(novice)เอาไว้แล้ว การเรียนนั้นก็คือการเปลี่ยนจากมือใหม่ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ โดยที่ความแตกต่างระหว่างมือใหม่และผู้เชี่ยวชาญนั้น ไม่เพียงแต่ปริมาณความรู้้ในสาขาเท่านั้น แต่ยังอยู่ที่การจัดระบบข้อมูลในสาขานั้นๆด้วย สิ่งต่อมาที่เราต้องคำนึงถึงก็คือ transfer คือการนำเอาความรู้้ที่มีอยู่ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ (จะเป็นในสาขาหรือต่างสาขาก็ได้)