เรียนคำศัพท์จากประสบการณ์เรียนนอก- Faculty VS department
การมาเรียนปริญญาโทที่ฮาร์วาร์ดคือการมาเรียนอเมริกาครั้งแรกของตัวเอง มีคำหนึ่งที่ทำเราสับสนอยู่พักใหญ่ก็คือ faculty นี่แหละ ที่บ้านเรา facultyคือคณะใช่ไหมคะ เช่น faculty of medicine
การมาเรียนปริญญาโทที่ฮาร์วาร์ดคือการมาเรียนอเมริกาครั้งแรกของตัวเอง มีคำหนึ่งที่ทำเราสับสนอยู่พักใหญ่ก็คือ faculty นี่แหละ ที่บ้านเรา facultyคือคณะใช่ไหมคะ เช่น faculty of medicine
มีเวลาอยู่ประมาณอาทิตย์นึงในการเลือกวิชาเรียน แต่ละโปรแกรมก็มีตัวบังคับไม่เหมือนกัน แต่เราก็มีโอกาสได้เลือกเยอะอยู่เหมือนกัน ที่นี่น่าสนใจมากคือว่าก่อนจะลงเรียนวิชาไหน เขาจะมี shopping period ให้ก่อน คือมีเวลาประมาณสองถึงสามวัน จะมีคลาสแรกของทุกๆวิชา
กลับมาเป็นเด็กหออีกแล้ว ชีวิตเป็นเด็กหอมาตลอดตั้งแต่อยู่จุฬาแล้ว ก็ไม่นึกเหมือนกันว่ามาเรียนปริญญาโทแล้วก็ยังจะอยู่หออีก แต่ก็เลือกเองอ่ะนะ ไม่ได้มีใครบังคับ แล้วจะบ่นทำไม … เนื่องจากว่าที่หอนี้มีเตียงให้ แต่ไม่มีผ้าปูที่นอนให้ เราเลยต้องไปซื้อเอง
แล้วจะรู้ได้ไงล่ะว่ากินกันไปแล้วกี่มื้อ ที่นี่สะดวกมาก ก็คือ แต่ละคนจะมี student ID card อยู่แล้ว ID ก็คือ
เข้าหอวันแรก (2) อย่างที่บอกว่าถ้าอยู่หอนี้ เขาจะรวมอาหารด้วย ก็คือแต่ละคนจะมี quota อยู่คนละสิบมื้อต่ออาทิตย์ โรงอาหารจะเปิดสามมื้อต่อวัน แต่เปิดแค่วันธรรมดา เสาร์อาทิตย์ไม่เปิด
เนื่องจากเป็นคนขี้เกียจหาบ้านอยู่เอง ก็เลยอยู่หอมหาวิทยาลัยนี่แหละสิ้นเรื่องสิ้นราว แต่หอพักที่เราอยู่นี่มีลักษณะพิเศษคือ ทุกคนได้ห้องเดี่ยว แต่เป็นห้องน้ำรวม คือต้องเดินออกไปเข้าห้องน้ำและอาบน้ำที่นอกห้องตัวเอง ซึ่งตอนแรกเราก็นึกว่าจะมีแต่ที่บ้านเราซะอีกที่เป็นอย่างนี้ เพิ่งรู้ว่าที่ฮาร์วาร์ดก็มีด้วยเหมือนกัน อีกอย่างหนึ่งที่แตกต่างจากอพาร์ทเมนท์ทั่วไปก็คือ เขาบังคับ
ถ้าคิดว่า orientation แค่นั้นพอแล้ว ยังจ้ะ ยังไม่จบ มี Orientation for LGBT students
วันแรกที่ได้ไปเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย (2) หลังจากนั้นก็ยังมี Orientation for Students of Color ตัวเราตอนแรกก็งงๆนะว่า Students