
ในการเขียนเชิงวิชาการ (academic writing) เราใช้การย่อ (abbreviation) อย่างไร?
ในการเขียนเชิงวิชาการ (academic writing) เราใช้การย่อ (abbreviation) อย่างไร? Abbreviation คือ การย่อให้คำหรือวลี(phrase)สั้นลง ยกตัวอย่างเช่น
ในการเขียนเชิงวิชาการ (academic writing) เราใช้การย่อ (abbreviation) อย่างไร? Abbreviation คือ การย่อให้คำหรือวลี(phrase)สั้นลง ยกตัวอย่างเช่น
อาทิตย์นี้ครูม่อนจะคุยเรื่อง academic writing style (เขียนเชิงวิชาการ) นะคะ ซึ่งอันนี้มันใช้ในการสอบต่างๆเช่น โทเฟล (TOEF) หรือ
เวลาเขียนรายงานเรามักจะต้องสรุปผลว่าการทดลองนั้นมีผลมากน้อยแค่ไหน มาดูกันว่าเราใช้ adjective อะไรได้บ้าง n. effect ผลลัพธ์ significant considerable substantial
คำว่า obsession (n) นั้นมักจะมีความหมายไปในทางลบ มักจะหมายถึงการหมกมุ่นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป ทางการแพทย์มีโรค obsessive compulsive disorder หรือที่รู้จักกันว่า
What to do when you feel like you are not
โดยส่วนตัวแล้วคิดว่า readingเป็นส่วนที่เราควบคุมได้มากที่สุดนะคะ เพราะว่าเราควบคุมเวลาตัวเอง แล้วเราก็แค่อ่านให้เข้าใจแล้วเลือกตอบ ไม่ต้องคิดเองว่าจะพูดหรือเขียนยังไง แต่ว่าโทเฟล เขามักจะมีวิธีที่ทำให้เรารู้สึกว่ามันยาก โดยการเอาคำยากๆมาใช้เยอะๆ ทำให้เราอ่านไม่รู้เรื่อง ยิ่งถ้าได้บทความที่อยู่นอกวงการตัวเองยิ่งไปกันใหญ่
สิ่งที่ครูได้เรียนรู้จากการทำวิทยานิพนธ์เรื่องความสำเร็จในการเรียนภาษาอังกฤษ คือ ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนนั้นเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จมากที่สุด ลองมาดูตัวอย่างความเชื่อบางอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนภาษากันค่ะ “พยายามเท่าไหร่ก็ไม่เก่งขึ้นสักที แล้วจะพยายามไปทำไหมเนี่ย” เนื่องจากครูม่อนเรียนมาอย่างน้อยสามภาษาแล้ว รู้เลยว่าความคิดแบบเนี่ย มีิอยู่ในหัวตลอด ตอนเรียนแรกๆจะไม่ค่อยเป็นนะ
TOEFL แค่บอกอะไรบางอย่าง ปกติพวกเราจะเตรียมสอบTOEFLกันเป็นหลักอยู่แล้ว เพราะเป็นด่านสำคัญที่เราจะต้องผ่านไปให้ได้ แต่ต้องอย่าลืมนะคะว่า คะแนนTOEFLแค่เป็นตัวบอกว่า เราน่าจะสามารถเรียนด้วยภาษาอังกฤษได้ แต่ไม่ได้บอกว่าเราดีกว่าคนที่เป็นเจ้าของภาษาตรงไหน คือถ้าเป็นเจ้าของภาษา เขาจะไม่ต้องสอบTOEFL