แนะนำหนังสือน่าอ่านสำหรับ Mental Health Awareness Month
การอ่านเป็นวิธีสร้าง English brain ได้ดีมาก ทำให้เราหัดคิดเป็นภาษาอังกฤษค่ะ พออ่านเยอะๆเราก็จะคิดเป็นภาษาอังกฤษเก่งขึ้นเรื่อยๆ เดือนพ.ค.เป็น Mental health awareness month ครูม่อนเลยขอโอกาสนี้มาแนะนำหนังสือที่เกี่ยว mental health นะคะ การอ่านหนังสือเป็นวิธีเรียนภาษาที่ดีมาก แม้แต่การอ่านนิยายก็ช่วยได้เยอะ ได้ทั้งความบันเทิง ภาษา และได้เรียนเกี่ยวกับสังคมด้วย ยิงปืนนัดเดียวได้นกอย่างน้อยสามตัวเลยทีเดียว 1. Eliza and Her
ถ้าอาจารย์ใช้คำนี้ในเลคเชอร์ แต่ทำไมเราใช้ในงานเขียนไม่ได้ ?
ทุกคนรู้อยู่แล้วว่าภาษาพูดกับเขียนนั้นต่างกัน ซึ่งอันนี้ก็จริงในacademia(ทางวิชาการ)ด้วยเหมือนกัน เวลาอยู่ในเลคเชอร์หรือสัมมนา เราอาจจะได้ยินอาจารย์ใช้คำที่ไม่เป็นทางการ เช่น stuffs, a bit, a bunch of เป็นต้น แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะเอาคำพวกนี้มาใช้ในงานเขียนได้นะคะ เวลาเขียนเราต้องใช้คำที่เป็นทางการอยู่ดีค่ะ คือไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษที่ใช้กันอยู่ทุกวัน หรือภาษาอังกฤษเชิงวิชาการก็มีแยกเป็น ภาษาพูดกับภาษาเขียน ดังนั้น ภาษาพูดทางวิชาการก็ยังมีความแตกต่างจากภาษาเขียนอยู่ดี ภาษาพูดทางวิชาการ โดยเฉพาะในห้องเรียนหรือการประชุมกลุ่มย่อยนั้น จะต่างกับภาษาเขียนตรงที่ 1. Loosely-structured (โครงสร้างหละหลวม)
Phrasal Verb คืออะไร ? การใช้ในการเขียนเชิงวิชาการ
Phrasal Verb คืออะไร วลีที่มี verb + คำชนิดอื่น (อาจจะเป็นadverb หรือ preposition) เช่น put up with, figure out, get rid of เป็นต้น แต่ใน academic writing จะไม่ค่อยนิยมใช้ phrasal
ในการเขียนเชิงวิชาการ (academic writing) เราใช้การย่อ (abbreviation) อย่างไร?
ในการเขียนเชิงวิชาการ (academic writing) เราใช้การย่อ (abbreviation) อย่างไร? Abbreviation คือ การย่อให้คำหรือวลี(phrase)สั้นลง ยกตัวอย่างเช่น Professor –> Prof., Doctor —> Dr. การย่อนั้นยังมีอีกสองแบบย่อยด้วยกัน Contraction หรือ การย่อ do—> don’t, cannot—>can’t, will not—>won’t
ภาษาวิชาการ Academic Text Writing: Formal VS Informal
อาทิตย์นี้ครูม่อนจะคุยเรื่อง academic writing style (เขียนเชิงวิชาการ) นะคะ ซึ่งอันนี้มันใช้ในการสอบต่างๆเช่น โทเฟล (TOEF) หรือ GRE ด้วย คือ ในการสอบวัดระดับภาษาสำหรับการเรียนต่อต่างๆ เรื่องหนึ่งก็คือ formal language คือ academic writing จะเป็นทางการกว่าภาษาพูด ซึ่งหลักการนี้ก็น่าจะรู้ๆกันอยู่แล้ว แต่อุปสรรคคือบางทีเราไม่รู้ว่าภาษาที่เราใช้อันไหนมันไม่เป็นทางการ ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องผิดปกตินะคะ เพราะว่าเราไม่ได้ใช้ภาษาวิชาการทุกวัน
สร้างความเป็นคนชอบเรียนภาษาอังกฤษ Build your English-learning identity
ถ้าอยากจะเก่งอังกฤษ ต้องสร้าง identity (ความเป็นตัวเรา) ว่าเราเป็นคนชอบเรียนภาษาอังกฤษ Identity เป็นคอนเซ็บที่ซับซ้อน แต่เอาง่ายๆในที่นี้ว่าหมายถึง ความเป็นตัวเรา นั่นเอง คนเราแต่ละคนมีidentityหลายอย่างหลายด้าน เช่น เป็นลูกที่ดี เป็นคนตรงเวลา เป็นคนชอบเที่ยว หรือแม้เป็นคนเกลียดเรียนภาษาอังกฤษ หรือเป็นคนชอบเรียนภาษาอังกฤษ แม้แต่ในเรื่องเรียนภาษาอังกฤษ เราก็ยังมีidentityละเอียดลงไปอีกได้ เช่น เป็นคนพูดอังกฤษเก่งแต่เขียนไม่เก่ง เป็นต้น คนที่จะเก่งภาษาอังกฤษมักจะมีidentityที่ชอบเรียนภาษาอังกฤษ identityจะเป็นตัวไกด์การกระทำ พอเราเชื่อว่าเราเป็นคนที่ชอบเรียนภาษาอังกฤษเราก็จะทำกิจกรรมที่เพิ่มทักษะภาษาอังกฤษโดยไม่รู้ตัว