ก้าวสั้นๆสู่ก้าวกระโดด
กว่าจะเก่งได้หนทางอีกตั้งยาวไกล แค่คิดก็เหนื่อยแล้ว มีอะไรต้องทำอีกเยอะ ไม่มีเวลา ยังไงก็ทำไม่ทัน อยากจะเก่ง writing แต่สายไปแล้ว เวลาไม่พอ
กว่าจะเก่งได้หนทางอีกตั้งยาวไกล แค่คิดก็เหนื่อยแล้ว มีอะไรต้องทำอีกเยอะ ไม่มีเวลา ยังไงก็ทำไม่ทัน อยากจะเก่ง writing แต่สายไปแล้ว เวลาไม่พอ
ที่ฮาร์วาร์ด และมหาวิทยาลัยดีๆอื่นๆ นักเรียนเถียงอาจารย์ได้ แล้วไม่เป็นไร แถมอาจารย์ยังชอบด้วยซ้ำ แต่ไม่ใช่ว่าเถียงแบบไม่มีเนื้อหา เถียงแบบไม่มีเหตุผล (ซึ่งบางทีเจอเยอะในห้องเรียนมัธยมนะ) ถ้าเราคิดอย่างมีเหตุผลแล้วไม่เห็นด้วยเราก็เถียงได้ ถามได้
ถึงแม้ว่าความเชี่ยวชาญในด้านนึง จะไม่ได้ทำให้เชี่ยวชาญในอีกด้านนึงเสมอไป แต่เราก็คงเคยเห็นคนที่เรียนหนังสือเก่งๆ แล้วมักจะไม่ได้เก่งวิชาเดียว แต่เก่งเกือบทุกวิชา ทำไมถึงเป็นอย่างนั้นล่ะ? Metacognition เป็นทักษะทั่วไป(ไม่เฉพาะสาขา) ที่เราใช้ในการเรียนหรือการแก้ปัญหา เช่น
ถ้ารู้ด้วย common sense ว่าคนเก่งอีกด้านไม่จำเป็นต้องเก่งอีกด้านเสมอไป แต่เราก็ยังเชื่อว่าการเล่นปัญหาปริศนาจะทำให้เราฉลาดได้ ครูม่อนเองก็เคยคิดอย่างนั้นเหมือนกันคะ ก็เล่นไปลับสมอง ก็น่าจะเก่งขึ้น การเล่นเกมส์ปริศนาบ่อยๆ จะทำให้เราเล่นเกมส์นั้น
ก่อนที่จะเฉลยปัญหาครั้งที่แล้ว ครูม่อนจะขอทวนความจำที่ได้เขียนแนะนำเรื่องผู้เชี่ยวชาญ(expert)และมือใหม่(novice)เอาไว้แล้ว การเรียนนั้นก็คือการเปลี่ยนจากมือใหม่ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ โดยที่ความแตกต่างระหว่างมือใหม่และผู้เชี่ยวชาญนั้น ไม่เพียงแต่ปริมาณความรู้้ในสาขาเท่านั้น แต่ยังอยู่ที่การจัดระบบข้อมูลในสาขานั้นๆด้วย สิ่งต่อมาที่เราต้องคำนึงถึงก็คือ transfer คือการนำเอาความรู้้ที่มีอยู่ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ (จะเป็นในสาขาหรือต่างสาขาก็ได้)
เคยเล่นเกมส์ปัญหาเชาวน์กันไหมคะ? โดยเฉพาะตอนเด็กจะชอบเล่นแก้ปัญหาพวกนี้กัน เห็นเขาว่ากันว่าฝึกสมองดี จะได้ฉลาด ว่าแต่ว่ามันทำให้ฉลาดจริงหรือเปล่านะ? ลองคิดตามนะคะ ถ้าสมมติว่าเมืองเรากำลังตกอยู่ในภาวะวิกฤติ ขาดผู้นำดีๆ ประชาชนก็ไม่ปรองดองกัน กองกำลังทหารก็ไม่ใหญ่่เท่าเมืองศัตรู
อีกตัวอย่างหนึ่งของความจำที่แตกต่างกันของคนเก่งกับคนเพิ่งเริ่ม ก็คือ เซียนหมากรุกคะ ถ้าถามว่าเซียนต่างกับคนเพิ่งเริ่มเล่นยังไง หลายๆคนก็อาจจะคิดว่า เซียนคงวางแผนไปไกลหลายตา กว่าคนที่เพิ่งเห็นเล่น แต่จริงๆแล้วมีคนศึกษาแล้วพบว่าเซียนก็ไม่ได้วางแผนไปไกลกว่ามือใหม่สักเท่าไหร่ แต่การจัดระบบความรู้ต่างกันคะ สำหรับคนที่เล่นเก่งแล้ว
ตามหลักของ cognitive science แล้ว การเรียนรู้ก็คือการเปลี่ยนสถานะ จากผู้เริ่มต้น (novice) ให้กลายเป็นผู้เชี่ยวชาญ (expert) อย่างหนึ่งที่ผู้เชี่ยวชาญต่างกับผู้เริ่มต้นก็คือ