Academic Writing

สูตรการเขียนสรุปว่าคนเขียนเห็นด้วยกับบางอย่าง (expressing agreement)

สำหรับการเขียนสรุปว่าคนเขียน A เห็นด้วยกับคนเขียน B สามารถใช้  template อย่างนี้ค่ะ The authors of this paper agree with Smith (2010) that _____. ผู้เขียนบทความนี้เห็นด้วยกับสมิธ(2010)ว่า ______ Verbs ที่ใช้ได้ Confirm ยืนยัน Reaffirm

Read More »

สูตรการเขียนสรุป Summarizing

สูตรการเขียนสรุป Summarizing He/she demonstrates that _____ . เขาแสดงและพิสูจน์ว่า  ______ . Verb  ที่มาใช้ในการสรุปได้ Argue โต้เถียง Assert ยืนยัน Believe เชื่อ Claim อ้าง Emphasize เน้น Report รายงาน Show 

Read More »

Avoid Absolute Words

Absolute words คือ คำที่มีความหมายแบบแน่นอน ฟันธง ซึ่งเราจะพยายามไม่ใช้ในการเขียนวิชาการเพราะความหมายมักจะผิดได้ง่าย คราวที่แล้วแนะนำ template ไป อยากให้มาสังเกตกันด้วยว่า template นั้นมีจุดที่สำคัญคือ จะไม่ใช้คำที่เป็น absolute เช่น all, always, never, none, only, every, mustและคำอื่นๆที่ความหมายคล้ายกัน Many people assume

Read More »

สูตรการเขียน Introducing Common Views

การเขียนเชิงวิชาการนั้นมักจะต้องการให้เราเริ่มต้นจากการพูดถึงความรู้ที่มีอยู่แล้วก่อน จากนั้นเราถึงจะพูดถึงความเห็นของเรา มี template หลายอันที่เรานำมาใช้ได้ค่ะ Many people assume that _______ . หลายๆคนเชื่อว่า _____ It is often said that ______ . เป็นที่พูดกันว่า  ____ Common sense seems

Read More »

ถ้าอาจารย์ใช้คำนี้ในเลคเชอร์ แต่ทำไมเราใช้ในงานเขียนไม่ได้ ?

ทุกคนรู้อยู่แล้วว่าภาษาพูดกับเขียนนั้นต่างกัน ซึ่งอันนี้ก็จริงในacademia(ทางวิชาการ)ด้วยเหมือนกัน เวลาอยู่ในเลคเชอร์หรือสัมมนา เราอาจจะได้ยินอาจารย์ใช้คำที่ไม่เป็นทางการ เช่น stuffs, a bit, a bunch of  เป็นต้น แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะเอาคำพวกนี้มาใช้ในงานเขียนได้นะคะ เวลาเขียนเราต้องใช้คำที่เป็นทางการอยู่ดีค่ะ คือไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษที่ใช้กันอยู่ทุกวัน หรือภาษาอังกฤษเชิงวิชาการก็มีแยกเป็น ภาษาพูดกับภาษาเขียน ดังนั้น ภาษาพูดทางวิชาการก็ยังมีความแตกต่างจากภาษาเขียนอยู่ดี ภาษาพูดทางวิชาการ โดยเฉพาะในห้องเรียนหรือการประชุมกลุ่มย่อยนั้น จะต่างกับภาษาเขียนตรงที่ 1. Loosely-structured (โครงสร้างหละหลวม)

Read More »