ตัดคำและวลีที่มีความหมายซ้ำซ้อน redundant words and phrases
Author: Dr Natpat Chanjavanakul Date: 3 December 2019 ***** สวัสดีค่ะ วันนี้เราจะมาดูเรื่องการตัดคำและวลีที่มีความหมายซ้ำซ้อนกันนะคะ เรื่อง redundant words and phrases นี้เป็นเรื่องหนึ่ง ที่จะช่วยให้งานเขียนของเราดีขึ้นได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาเยอะ. ลองดูตัวอย่างประโยคนี้นะคะ “Both unemployment levels as
แก้ประโยคและวลีที่ wordy และ awkward
Author: Dr Natpat Chanjavanakul Date: 26 November 2019 ***** Reduce wordiness เขียนให้กระชับ(concise)ด้วยการลดคำที่ไม่จำเป็น เราเรียกประโยคที่ใช้คำฟุ่มเฟือยว่า wordy ซึ่งการตัดคำที่ไม่จำเป็นทิ้งไปนั่นถือเป็นวิธีการแก้ writing ที่ง่ายๆวิธีหนึ่งเลย การ reduce wordiness นั้นมีสองกลุ่มใหญ่ๆ Redundant words and phrases
เทคนิคง่ายๆที่ช่วยให้เราอ่านเร็วขึ้น
เทคนิคง่ายๆที่ช่วยให้เราประหยัดเวลาอ่าน reading ใครที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่ ไม่ว่าจะในไทยหรือต่างประเทศ ปริญญาตรีหรือเอก ก็จะรู้ว่าจะมีอะไรที่ต้องอ่านเยอะมาก ทั้งtextbooks ทั้งบทความ journal บางวิชาก็จะให้listมาเลยว่าแต่ละอาทิตย์ต้องอ่านอะไรบ้าง ครั้งแรกที่ครูม่อนไปเรียนที่อเมริกา ตอนนั้นเรียนปริญญาโทที่ฮาร์วาร์ด ช็อกมากว่าทำไมแต่ละอาทิตย์ต้องอ่านเยอะขนาดนั้น วิชาละ 100 กว่าหน้าอย่างต่ำ แล้วเราเรียน 4 วิชา! ตอนที่เรียนหมอ จุฬา ก็ต้องอ่านเยอะนะ แต่รู้สึกว่าไม่เหมือนกัน เพราะตอนเรียนหมอนั้นมันต้องจำหมดอยู่แล้วแถมยังอ่านภาษาไทย
Facebook Live 5/11/2019 – “sentence combining”
Author: Dr Natpat Chanjavanakul Date: 5 November 2019 ***** วันนี้มาคุยกันเรื่อง sentence combining ซึ่งสำคัญมากในการเขียน เพราะว่าจะช่วยงานเขียนของเราอ่านแล้วลื่นไหลมากขึ้น และยังทำให้ความหมายชัดเจนขึ้นด้วย วันนี้จะคุยกัน 5 วิธีในการรวมประโยคได้แก่.. 1. Insert adj/adv/prep phrases 2. Appositives 3.
Facebook Live 12/11/2019 – “participial phrases และ dangling modifiers”
Author: Dr Natpat Chanjavanakul Date: 12 November 2019 ***** วันนี้มาพูดถึงเรื่อง Participial phrases กันนะคะ ก่อนอื่นขอย้อนความก่อนว่า sentence-combining methods มีทั้งหมด 5 วิธีคือ 1. Insert adj/adv/prep phrases 2. Appositives
อ่านอย่างไรถึงจะเขียนเก่ง?
ใครบ้างที่คิดว่าอ่านเยอะๆแล้วทำให้ภาษาดีขึ้น ทำให้เขียนได้เก่งขึ้น? ครูม่อนคิดว่าทุกๆคนก็คงรู้ และเชื่อแบบนี้ ซึ่งมันก็จริงค่ะ ไม่ว่าจะเรียนภาษาอะไร การใช้ภาษานั้นทำให้ภาษาดีขึ้นแน่นอน โดยเฉพาะเรื่องการเขียนนั้น แน่นอนว่าอย่างน้อยก็ต้องอ่านเป็นบ้าง ถึงจะเขียนดีขึ้น วันนี้ครูจะพูดถึงสองเรื่องด้วยกัน การอ่านนิยายเพื่อเรียนภาษาและพัฒนาการเขียน สิ่งที่ควรรู้ไว้สำหรับการปรับใช้ให้เข้ากับงานเขียนของเราเอง เรื่องแรก คือ อ่าน fiction (นิยาย) เพื่อเรียนภาษาและพัฒนาการเขียน เมื่อก่อนครูเป็นคนที่เลือกจะอ่านแต่ non-fiction (งานเขียนจากเรื่องจริง้ฟะ รวมถึงความรู้ต่างๆ) เท่านั้น ตอนนั้นช่วงเรียนที่จุฬา